บทที่ ๒
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
แนวคิด
อิเหนา
เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ
เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ
และทั้งกระบวนการที่ละเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี
ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้
๒.๑ ความเป็นมา
๒.๒ ประวัติผู้แต่ง
๒.๓ ลักษณะคำประพันธ์
๒.๔ เรื่องย่อ
๒.๕ เนื้อเรื่อง
๒.๖ คำศัพท์
๒.๗ บทวิเคราะห์
ความเป็นมา
อิเหนา
เป็นวรรณคดีที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
ซึ่งชาวชวาได้แต่งขึ้นเอเฉลิมพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์
ชวาพระองค์นี้ทรงนำความเจริญให้แก่ชาวชวา ซึ่งพระองค์เป็นทั้งนักรบ นักปกครอง
และพระองค์ทรงมี พระราชธิดา ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์
เมื่อพระราชธิดาของพระองค์ได้ทรงเสด็จออกผนวช จึงได้แบ่งราชอาณาจักรเป็น ๒ ส่วน
คือกุเรปัน และ ดาหา
ต่อมาท้าวกุเรปันได้ทรงมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่ง
และท้าวดาหาทรงมีพระราชธิดาพระองค์หนึ่ง ซึ่งทั้งสองพระองค์มีพระนามว่า
อิเหนาและบุษบา เมื่อเจริญพระชันษา อดีตพร อ่านเพิ่มเติม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น